ข้อมูลสำนักงานเกษตรอำเภอวานรนิวาส   
จังหวัดสกลนคร  ปีงบประมาณ 2551

คำขวัญสำนักงานเกษตรอำเภอวานรนิวาส 
                ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย        เน้นเศรษฐกิจพอเพียง

วิสัยทัศน์
                สำนักงานเกษตรอำเภอวานรนิวาส  มุ่งมั่นพัฒนาสถาบันเกษตรกร  ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร-ปลอดภัย  ลดรายจ่าย  เพิ่มรายได้  สร้างเสริมชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ
                1. ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถของเกษตรกร  ในการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตร
สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและปลอดภัย
2. ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร  ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
3. ส่งเสริมแนวเกษตรทฤษฎีใหม่  ให้มีชีวิตที่พอเพียงอย่างยั่งยืน

1.ข้อมูลพื้นฐาน เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม

ประวัติอำเภอวานรนิวาส
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) แห่งราชวงศ์จักรี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยก“บ้านกุดลิง” ของชาวโย้ย เป็น “เมืองวานรนิวาส”  เมื่อวันจันทร์  แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ปีระกา จศ. 1223 ตรงกับวันจันทร์ที่  6  กรกฎาคม  พ.ศ. 2404   

นายอำเภอคนแรก
คือ“ท้าวจันโสม” เป็น รองอำมาตย์โทพระประชาราษฎร์รักษา (ฉิม  ศรีถาพร)
นายอำเภอคนปัจจุบัน คือ  นายสมศักดิ์   สุขประเสริฐ

คำขวัญอำเภอวานรนิวาส     

          
“วานรเมืองธรรมะ                             วัดเสพระตะเคียนใหญ่
          หินเหิบไหมมัดหมี่                              คอนศรีข้าวเม่าหวาน 
          หนองม่วงงานแข่งเรือ                       ม่วนเหลือบุญพระเวสสันดร
          ออนซอนอ่างเก็บน้ำห้วยโทง

ศาสนา
 
ขนบธรรมเนียมประเพณี พิธีกรรม  อิทธิพลทางความคิด  ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ และศาสนาคริสเพียงเล็กน้อย มีความเชื่อ นับถือผี ปู่ตา  เป็นบางหมู่บ้านและมีประเพณีที่ปฏิบัติกันมาแต่โบราญ  ตามฮีตสิบสองครองสิบสี่ หรือประเพณีทำบุญสิบสองเดือน  ปัจจุบันไม่ครบทุกเดือนเหมือนสมัยโบราณ

สภาพทั่วไป

อำเภอวานรนิวาส  ห่างจากจังหวัดสกลนคร เป็นระยะทาง  82 กิโลเมตร   ห่างจากกรุงเทพฯ 780 กิโลเมตร  มีอาณาเขต  ดังนี้

อาณาเขตอำเภอวานรนิวาส

ทิศเหนือ                ติดต่อ                     อำเภอคำตากล้า  และอำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร
ทิศตะวันออก       ติดต่อ                     อำเภออากาศอำนวย  และอำเภอพรรณานิคม  จังหวัดสกลนคร
ทิศตะวันตก          ติดต่อ                     อำเภอเจริญศิลป์  และอำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร
ทิศใต้                     ติดต่อ                     อำเภอพังโคน  จังหวัดสกลนคร

ตารางที่  1   อัตรากำลังข้าราชการ/ลูกจ้าง ปี  2551   สำนักงานเกษตรอำเภอวานรนิวาส

ที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

งานที่รับผิดชอบ/ตำบล

หมายเลขโทรศัพท์

ที่ทำงาน

มือถือ

บ้าน

1

2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14

ว่าที่ ร.ต. รังสฤษฎิ์ ดาวจันทึก

นางวัลภา   สมโคตร
นายสำราญ ทองมีเดช
นางเสาวลักษณ์  ก นกหงษ์
นางชัยศรี  สร้อยมาลัย
นายสุทัศน์  กนกหงษ์
นายพูลทรัพย์  รัชปัญญา
นายวิสิชน์   สุทธิอาจ
น.ส.สมมะนัส  เอนไชย
นายฤทธิ์   ร่มเกษ
นายเสงี่ยม  จิตจักร
นายพีระพันธ์  เฒ่าอุดม
นางวงแหวน  อินธิราช
นางแตงอ่อน  พลรัตน์

เกษตรอำเภอวานรนิวาส

เจ้าหน้าที่ธุรการ 5
เจ้าหน้าที่บริหารงานการเกษตร 6
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6 ว
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6 ว
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6 ว
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6 ว
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6 ว
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 6 ว
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 5
เจ้าพนักงานการเกษตร  6
เจ้าพนักงานการเกษตร  6
เจ้าพนักงานธุรการ
ลูกจ้างทำความสะอาด

กำกับดูแลงานส่งเสริมการเกษตร
ระดับอำเภอ
งานธุรการ
ตำบลกุดเรือคำ ต.หนองแวง
ตำบลคอนสวรรค์
ตำบลขัวก่าย  ต.นาคำ
ตำบลธาตุ 
ตำบลหนองแวงใต้  ต.นาซอ
ตำบลศรีวิชัย
ตำบลเดื่อศรีคันไชย
ตำบลหนองสนม
ตำบลอินทร์แปลง ต.คูสะคาม
ตำบลวานรนิวาส
บันทึกข้อมูล
งานทำความสะอาด

042791147

042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147
042791147

0878570303

0875836672
0872342489
0817497871
0817687642
0878599766
0897124219
0872205304
0810614053
0892747081
0878595228
0810604318
0817091066
-

042791295

-
-
042791178
042790536
042791178
042791452
-
042798364
-
-

-
042988252

 
การปกครอง
        แบ่งเป็น    14  ตำบล    181   หมู่บ้าน ประกอบด้วย

ตำบลวานรนิวาส                 จำนวน                   17           หมู่บ้าน
ตำบลธาตุ                            จำนวน                   22           หมู่บ้าน
ตำบลศรีวิชัย                        จำนวน                   16           หมู่บ้าน
ตำบลหนองสนม                  จำนวน                   21           หมู่บ้าน
ตำบลกุดเรือคำ                    จำนวน                   8              หมู่บ้าน
ตำบลขัวก่าย                        จำนวน                   13           หมู่บ้าน
ตำบลคอนสวรรค์                 จำนวน                   9              หมู่บ้าน
ตำบลคูสะคาม                     จำนวน                   9              หมู่บ้าน
ตำบลเดื่อศรีคันไชย             จำนวน                   16           หมู่บ้าน
ตำบลนาคำ                          จำนวน                   9              หมู่บ้าน                                 
ตำบลนาซอ                         จำนวน                   11           หมู่บ้าน
ตำบลหนองแวง                   จำนวน                   6              หมู่บ้าน
ตำบลหนองแวงใต้               จำนวน                   15           หมู่บ้าน
ตำบลอินทร์แปลง                จำนวน                   9              หมู่บ้าน

พื้นที่

พื้นที่อำเภอวานรนิวาสทั้งสิ้น  1,001  ตารางกิโลเมตร  หรือ  625,625  ไร่ 
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มสูงกว่าระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ย 170  เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง  ทิศตะวันออก เฉียงเหนือเป็นป่าดงอีบ่าง  ป่าดงคำพู ทิศตะวันตกเฉียงเหนือป่าดงผาลาด ทิศเหนือมีพื้นที่สูง
               
              1. ด้านเกษตร

พื้นที่ถือครองทางการเกษตร                  400,139 ไร่           คิดเป็นร้อยละ      63.96
พื้นที่นาถือครอง                                     335,569  ไร่          คิดเป็นร้อยละ      83.86
พื้นที่นาหว่านและปักดำ                          289,249                 คิดเป็นร้อยละ      86.20
ข้าวเหนียว  กข. 6  ,หางยี 71 , สันป่าตอง  จำนวน  201,697  ไร่  (69.73%) 
ข้าวเจ้า ข้าวขาวดอกมะลิ  105  , กข .15    จำนวน    87,552 ไร่   (30.27%)  
ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 419 กก./ไร่  ผลผลิตรวม  121,195,331  ตันข้าวเปลือก 
พื้นที่ทำสวน                                           15,842  ไร่  คิดเป็นร้อยละ 3.95
พื้นที่ทำไร่ (ถั่วลิสง  ข้าวโพดกินฝัก  มะเขือเทศโรงงาน)     14,678  ไร่   คิดเป็นร้อยละ  3.66
พื้นที่เลี้ยงสัตว์                                        28,955  ไร่   คิดเป็นร้อยละ   7.23
พื้นที่ประมงเพาะเลี้ยง                             5,615  ไร่   คิดเป็นร้อยละ  1.4
เฉลี่ย 20.10  ไร่/ครัวเรือน ถือครอง โฉนด  41,152  แปลง  น.ส.3ก. 12,788  แปลงน.ส.3. 2,469  แปลง 

                2 ด้านปศุสัตว์     
                      
                        โค                           จำนวน                  30,705  ตัว
                                                กระบือ                   จำนวน                   10,306  ตัว
                                                สุกร                        จำนวน                     4,153    ตัว
                                                เป็ด                         จำนวน                   41,635  ตัว
                                                ไก่พื้นเมือง           จำนวน                232,389  ตัว
                                                ไก่ไข่                      จำนวน                   4,500      ตัว
                3. ด้านประมง       ส่งเสริมการประมง  จำนวน   403  ราย   552  ไร่   (ขึ้นทะเบียนกับประมงอำเภอ)               

                4. ด้านสถาบันเกษตรกร       กลุ่มเกษตรกร                                    จำนวน           6      กลุ่ม               
                                                                กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร                         จำนวน         147   กลุ่ม                                                                                          กลุ่มยุวเกษตรกร                                 จำนวน         15     กลุ่ม                
                                                                กลุ่มเครือข่ายพัฒนาการเกษตรแบบยั่งยืน  จำนวน    2   กลุ่ม                 
                                                                กลุ่มจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน           จำนวน         147  กลุ่ม
               
                5. ด้านเศรษฐกิจ
  อาชีพหลักทำนา  แปรรูปผลผลิตการเกษตร  อาชีพเสริมเลี้ยงสัตว์  เลี้ยงปลา

                6. ทรัพยากรธรรมชาติ 

    
                    6.1 แหล่งน้ำธรรมชาติ  มีลำน้ำยามไหลผ่าน  มีห้วยโนด  ห้วยโทง  ห้วยคำ  ห้วยซวง 
                    6.2 แหล่งน้ำชลประทาน ดังนี้



 แหล่งน้ำชลประทาน


ที่

อ่างเก็บน้ำ

พื้นที่การเกษตร

พื้นที่ส่งน้ำ
(ไร่)

พื้นที่ส่งน้ำ
ฤดูแล้ง(ไร่)

ชนิดพืชฤดูแล้งที่ปลูก

1

อ่างฯ ห้วยโทง

ตำบลนาคำ

4,680

800

ข้าว     พืชไร่  แตงโม ,ข้าวโพดพืชผัก  แตงกวา, แตงร้าน, ถั่วฝักยาว,
พริก, ฟักทอง, มะเขือเทศ, แคนตาลูป,
บ่อปลา

2

อ่างฯ ห้วยซวง

ตำบลคูสะคาม
ตำบลกุดเรือคำ

6,300

1,400

ข้าว   ข้าวนาปรัง   พืชไร่   ข้าวโพด
พืชผัก  แตงร้าน, ฟักทอง

3

อ่างฯ ห้วยคำ

ตำบลอินทร์แปลง
ตำบลคูสะคาม

 

7,000

 

2,500

ข้าว   ข้าวนาปรัง พืชไร่   ข้าวโพด
พืชผัก  แตงร้าน, ฟักทอง

 

รวม 3 อ่างฯ

 

รวม  5  ตำบล

 

17,980

 

4,700

ข้าว   ข้าวนาปรัง   พืชไร่   ข้าวโพด
พืชผัก   ถั่วฝักยาว,ฟักทอง

ที่มา : ฝายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 3  โครงการชลประทานสกลนคร.2549

 

สภาพภูมิอากาศ มี  3  ฤดู ฤดูหนาว  เดือนพฤศจิกายนถึงเดือน มกราคม   ฤดูร้อน เดือน กุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน ฤดูฝน เดือนพฤษภาคมถึงเดือน ตุลาคม
ปริมาณฝนโดยเฉลี่ย 1,723 ม.ม. 109วัน/ปี (สถิติปริมาณน้ำฝนย้อนหลังปี 2539-2548  )

ประชากร
   118,890  คน      (ชาย  58,234  คน  หญิง   60,656  คน)
- ครัวเรือนทั้งหมด     25,664   ครัวเรือน  เฉลี่ยครัวเรือนละ  5   คน  
- ครัวเรือนเกษตรกร  22,466   ครัวเรือน  คิดเป็นร้อยละ  87.60   
ส่วนใหญ่ปลูก พืช ข้าว  ไม้ผล  พืชไร่ (อาชีพรอง การทอผ้า  การทอเสื่อ  ค้าขาย  ตัดเย็บเสื้อผ้า  ตัดเย็บกระเป๋า รับจ้างทั่วไป และรับราชการ)
เกษตรกรมีรายได้โดยเฉลี่ย 28,496   บาท/คน/ปี 
ครัวเรือนผ่านเกณฑ์ จปฐ. รายได้  20,000  บาท/คน/ปี  จำนวน  15,051 ครัวเรือน
ขึ้นทะเบียนผู้ยากจน  20,482  ราย  (ได้รับการช่วยเหลือ  4,528  ราย  ยังไม่ได้รับการช่วยเหลือ      15,954   ราย  )


หน่วยงาน/ปกครอง
                ภูมิภาค                   ตำบล                14           แห่ง          หมู่บ้าน  181           หมู่บ้าน
                ท้องถิ่น                  เทศบาลตำบล    1             แห่ง          อบต.       14           อบต.
                ส่วนราชการส่วนกลาง                       7            แห่ง
                ส่วนภูมิภาค                                      10           แห่ง
                รัฐวิสาหกิจ                                        5            แห่ง
                สถานศึกษา                                      88           แห่ง             1       สาขา
                วัด                                                     152        แห่ง
                โบสถ์คริสต์                                       7             แห่ง
                โรงพยาบาล                                     1             แห่ง
                สถานีอนามัย                                    16           แห่ง

ดินชุดหน่วยผสม
ของดินตะกอนลำน้ำหลายชนิดปะปนกัน  ส่วนใหญ่เป็นหน้าดินตื้นประกอบด้วยดินหลายชนิดปะปนกัน ได้แก่
ดินชุดพิมาย  ดินชุดเชียงใหม่  ดินเหมาะสำหรับการปลูกข้าว 
ดินชุดราชบุรี  ใช้เป็นที่ทำนาได้ผลดี 
ดินชุดโคราช/โพนพิสัย  สภาพพื้นที่เป็นป่าเต็งรัง     บริเวณที่พบ ใช้เป็นที่ทำนา  พืชไร่  พืชผัก  ไม้ผล  ดินชุดโคราช  บางแห่งยังคงสภาพเป็นป่าแดง ป่าเต็ง     ใช้เป็นที่ทำนา    ไม้ผล ไม้ยืนต้น

แม่น้ำสายหลัก 
ลำน้ำยาม ไหลผ่านตำบลธาตุ  ตำบลศรีวิชัย  ตำบลคอนสวรรค์  ตำบลวานรนิวาส  ตำบลขัวก่าย  ตำบลหนองสนม   



                                                                                                             top

                                                                                                   <<หน้าหลัก>>